• ภาษาไทยพื้นฐาน ม.3 - ครูศุกภลักษณ์ พุดตาเต
    โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ เลขที่ 10 ถ. นาเชือก-พยัคฆภูมิพิสัย ต.นาเชือก อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม 44170

โครงสร้างรายวิชา

โครงสร้างรายวิชา วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนัก
คะแนน
การอ่านออกวินิสาร ท ๑.๑  ม.๓/๑
         ม.๓/๒
         ม.๓/๓
         ม.๓/๔
         ม.๓/๕
         ม.๓/๖
         ม.๓/๗
         ม.๓/๘
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ
บทร้อยกรอง ผู้เรียนต้องรู้หลักการอ่าน  จึงจะสามารถอ่านได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ
ต้องระบุความแตกต่างของคำที่มี
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุน
จากเรื่อง แล้วเขียนกรอบแนวคิด
ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน วิเคราะห์ วิจารณ์ และ              ประเมินเรื่องที่อ่านโดยใช้กลวิธีการ
เปรียบเทียบ ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่อง วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลำดับความ
และความเป็นไปได้ของเรื่อง วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่อง
 
การเขียนเพื่อการ
สื่อสาร
ท ๒.๑ ม.๓/๑
         ม.๓/๒
         ม.๓/๓
         ม.๓/๔
         ม.๓/๕
         ม.๓/๘         ม.๓/๑๐
การคัดลายมือที่ถูกต้อง จะต้อง
คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย
การเขียนเพื่อการสื่อสาร ผู้เรียนต้องเขียนข้อความโดยใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องตามระดับของภาษา เขียนชีวประวัติ หรืออัตชีวประวัติ เขียนย่อความ
เขียนจดหมายกิจธุระ กรอกแบบ
สมัครงาน พร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู้และทักษะของตนเองที่
เหมาะสมกับงาน และมีมารยาทใน
การเขียน
  เวลา ๖๐ ชั่วโมง
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนัก
คะแนน
การพูดเรื่องจากสื่อที่ฟังและดู ท ๓.๑ ม.๓/๑
         ม.๓/๒
         ม.๓/๓
         ม.๓/๖
การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและดู จะต้องอาศัยการวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อให้สามารถนำข้อคิดที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต และพูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าได้อย่างมีมารยาท
การใช้คำในภาษาไทย ท ๔.๑ ม.๓/๑
         ม.๓/๔
         ม.๓/๕
การศึกษาเรื่องการใช้คำในภาษาไทย จะช่วยให้จำแนกและใช้คำภาษา ต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
ใช้คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติได้อย่างถูกต้อง และสามารถอธิบายความหมายของคำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ
การแต่งบทร้อยกรองโคลงสี่สุภาพ ท ๔.๑ ม.๓/๖ การแต่งบทร้อยกรองประเภท
โคลงสี่สุภาพ จะต้องแต่งให้ถูกต้องตามลักษณะบังคับและเลือกสรรถ้อยคำภาษาที่มีความหมายลึกซึ้ง กินใจ และมีความไพเราะ
บทละครพูด                                   เรื่องเห็นแก่ลูก ท ๑.๑ ม.๓/๔         ม.๓/๗
ท ๓.๑ ม.๓/๕   ท ๕.๑ ม.๓/๑          ม.๓/๒            ม.๓/๓  
 
การศึกษาวรรณกรรมประเภทบันเทิงคดี       ต้องสามารถสรุปเนื้อหา เขียนกรอบแนวคิด วิจารณ์ความสมเหตุสมผล  การลำดับความและความเป็นไปได้ของเรื่อง วิเคราะห์                    วิถีไทยและคุณค่าของเรื่อง สรุปความรู้ ข้อคิดจากการอ่าน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้                 ในชีวิตจริง และพูดโน้มน้าว โดยนำเสนอหลักฐานตามลำดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผล               และน่าเชื่อถือ
พระอภัยมณี ตอน                       พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ ท ๑.๑ ม. ๓/๑
ท ๕.๑           ม. ๓/๑
         ม. ๓/๒
         ม. ๓/๓   
         ม. ๓/๔       
การศึกษาวรรณคดีประเภทบันเทิงคดี    ต้องสรุปเนื้อหา วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าของเรื่อง สรุปความรู้และข้อคิด                 จากการอ่านเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนด 
 
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนัก
คะแนน
พระบรมราโชวาท ท ๑.๑  ม. ๓/๓
ท ๒.๑            ม. ๓/๓
ท ๔.๑            ม. ๓/๑
ท ๕.๑            ม. ๓/๑
         ม. ๓/๒ ม. ๓/๓   
การศึกษาวรรณคดีเกี่ยวกับเหตุการณ์                  ในประวัติศาสตร์เรื่อง พระบรมราโชวาท ต้องสรุปเนื้อหา วิเคราะห์วิถีไทย และคุณค่าของเรื่อง สรุปความรู้และข้อคิด               ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
อิศรญาณภาษิต ท ๑.๑  ม. ๓/๑
         ม. ๓/๔
ท ๒.๑            ม. ๓/๒
ท ๕.๑            ม. ๓/๑
         ม. ๓/๒
         ม. ๓/๓
                   ม. ๓/๔         
การศึกษาวรรณคดีเกี่ยวกับสุภาษิตคำสอน ผู้เรียนต้องอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง                        ได้ถูกต้อง ระบุความแตกต่างของคำที่มีความหมายโดยตรงและโดยนัย สรุปเนื้อหาเขียนบันทึก ย่อความ  และรายงาน วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดี ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนด และเขียนข้อความตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆ  
๑๐ บทพากย์เอราวัณ ท ๑.๑   ม. ๓/๑
                                              ม. ๓/๔
ท ๕.๑                                      ม. ๓/๑
         ม. ๓/๒
         ม. ๓/๓  
         ม. ๓/๔
 
                                              ม. ๓/๔                                                        ม. ๓/๔                                                        ม. ๓/๔         
การศึกษาวรรณคดีเกี่ยวกับบันเทิงคดี ผู้เรียนต้องอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง                 ได้ถูกต้องเหมาะสม สรุปเนื้อหาวิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าของเรื่อง สรุปความรู้  และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง เขียนบันทึกเรื่อง                 ที่อ่าน ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดโดยอ่านออกเสียงได้ถูกต้องและบอกคุณค่าได้ 
สอบกลางภาคเรียน   ๒๐
สอบปลายภาคเรียน   ๓๐
รวม ๖๐ ๑๐๐
 
 
 
 
 

เข้าดู : 1841 ครั้ง