• ภาษาไทยพื้นฐาน ม.3 - ครูวิศิษฎ์ เทียมม่วง
    โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ เลขที่ 10 ถ. นาเชือก-พยัคฆภูมิพิสัย ต.นาเชือก อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม 44170

โครงสร้างรายวิชา

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน          รหัสวิชา  ท ๒๓๑๐๑            กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓               เวลา  ๖๐ ชั่วโมง                   จำนวน  1.๕  หน่วยกิต              
ภาคเรียนที่ 1                       ปีการศึกษา ๒๕๖๒
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง น้ำหนักคะแนน
1 อิศรญาณภาษิต   ๒๐ ๓๓
- การคัดลายมือ ท ๒.๑
 ม.๓/๑
การคัดลายมือตัวบรรจง
ครึ่งบรรทัด  ในระดับที่เริ่มเรียนจึงจำเป็นต้องมีแบบและ
มีหลักเกณฑ์การทำการคัดที่แน่นอน
- การอ่านออกเสียง ท ๑.๑ 
ม.๓/๑ 
การอ่านทำนองเสนาะช่วยส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาไทย การนำบทร้อยกรองมาอ่านเป็นทำนอเสนาะทำให้ห้องเรียนมีชีวิตชีวิตชีวาทำให้ผู้เรียนจำบทกวีนิพนธ์ได้เร็วและแม่นยำยิ่งขึ้น
- การถอดคำประพันธ์ ท ๑.๑
ม.๓/๙ 
กวีนิพนธ์หมายถึงรูปแบบทางศิลปะที่มนุษย์ใช้ภาษา เพื่อคุณประโยชน์ด้านสุนทรียะ ซึ่งเพิ่มเติมจากเนื้อหาทางความหมาย นับเป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรม
- การท่องบทอาขยาน ท ๕.๑
ม.๓/๔ 
บทอาขยาน คือ บทท่องจำ ซึ่งการท่องจำบทอาขยานช่วยทำให้เห็นคุณค่าของภาษาไทย และได้ข้อคิดที่สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง น้ำหนักคะแนน
- การเขียนสุนทรพจน์ ท ๒.๑   
ม.๓/๒ 
ท ๕.๑   
ม.๓/๔ 
การเขียนบทพูดสุนทรพจน์เป็นการเขียนข้อความตามสถานการณ์และโอกาสต่าง ๆ ผู้เขียนต้องใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องตามระดับของภาษา
- การสรุปเนื้อหา ท ๑.๑ 
ม.๓/๓ 
ท ๕.๑ 
ม.๓/๑ 
การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ เป็นพื้นฐานที่จำเป็นในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้เกิดความชำนาญจนสามารถจับใจความสำคัญในงานเขียนทุกประเภท
- การวิเคราะห์เรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ 
ม.๓/๕
ท ๕.๑ 
ม.๓/๒ ,๓/๓  
การอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรม จะต้องอ่านอย่างพินิจวิเคราะห์ ใช้ความคิดไตร่ตรองเพื่อแยกแยะ หาเหตุและผลแยกแยะส่วนที่ดีและไม่ดี ส่วนที่เป็นประโยชน์และโทษ เพื่อประเมินคุณค่าของสิ่งนั้น รวมทั้งการวินิจฉัยเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริง
บทพากษ์เอราวัณ   ๒๑ ๓๐
- การอ่านทำนองเสนาะ ท ๑.๑ 
ม.๓/๑
การอ่านทำนองเสนาะ มีประโยชน์ต่อผู้อ่านและผู้ฟังหลายประการ เช่น ช่วยเร้าความคิดเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ 
- การถอดคำประพันธ์ ท ๑.๑
ม.๓/๙
ท ๕.๑
ม.๓/๑
กวีนิพนธ์ เป็นงานเขียนที่มีวรรณศิลป์ เร้าให้สะเทือนอารมณ์ได้
 
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง น้ำหนักคะแนน
- การแต่งกาพย์ฉบัง ๑๖ ท ๔.๑ 
ม.๓/๖
คำประพันธ์ประเภทกาพย์ 
เป็นคำประพันธ์ที่แต่งง่าย  ไม่มีข้อบังคับซับซ้อนมาก 
- การวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ 
ม.๓/๕
ท ๕.๑ 
ม.๓/๒ ,๓/๓
การอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรม จะต้องอ่านอย่างพินิจวิเคราะห์ ใช้ความคิดไตร่ตรอง
- การค้นคว้าหาความรู้ ท ๓.๑ 
ม.๓/๓
การพูด  คือกระบวนการในการสื่อสารอย่างหนึ่งของมนุษย์  เป็นการสื่อสารความคิดจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งหรือไปยังคนอีกกลุ่มหนึ่ง เพื่อต้องการแสดงออกถึงอารมณ์และความรู้สึก  โดยใช้ภาษา
- การวิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่า ท ๕.๑ 
ม.๓/๒
การอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรม จะต้องอ่านอย่างพินิจวิเคราะห์ ใช้ความคิดไตร่ตรอง
- ความรู้ และข้อคิด ชีวิตพอเพียง ท ๕.๑ 
ม.๓/๓
การอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรม ต้องสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปประยุกต์ใช้            ใช้ความคิดไตร่ตรองเพื่อแยกแยะ
คนบนสะพาน   ๑๙ ๓๗
- ประวัติที่มา และการค้นคว้าหาความรู้ ท ๓.๑ 
ม.๓/๓
เรื่องสั้น “คนบนสะพาน”  ผลงานการเขียนของไพฑูรย์  ธัญญา  ซึ่งเป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (พ.ศ. ๒๕๓๐)
 
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง น้ำหนักคะแนน
- การอ่านในใจ ท ๓.๑ 
ม.๓/๑๐
มารยาทในการอ่าน  มารยาทเป็นวัฒนธรรมทางสังคม เป็นความประพฤติที่เหมาะสมที่ควร  
- การอ่านอกเสียงร้อยแก้ว ท ๓.๑ 
ม.๓/๑
การอ่านออกเสียง  เป็นการอ่านให้ตัวเองหรือผู้อื่นฟัง  การอ่านออกเสียงต้องอ่านให้ถูกต้องชัดเจนตามอักขรวิธี 
- การจับใจความสำคัญ ท ๓.๑ 
ม.๓/๓
การอ่านจับใจความสำคัญ  หมายถึง  การอ่านที่ผู้อ่านต้องเข้าใจเรื่องราวที่อ่านโดยสามารถสรุปความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
- การจับใจความสำคัญของข่าว ท ๓.๑ 
ม.๓/๓
การอ่านจับใจความสำคัญ  หมายถึง  การอ่านที่ผู้อ่านต้องเข้าใจเรื่องราวที่อ่านโดยสามารถสรุปความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
- การจับใจความสำคัญบทความ ท ๓.๑ 
ม.๓/๓
การอ่านจับใจความสำคัญ  หมายถึง  การอ่านที่ผู้อ่านต้องเข้าใจเรื่องราวที่อ่านโดยสามารถสรุปความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
- การจับใจความสำคัญเรื่องสั้น ท ๓.๑ 
ม.๓/๓
การอ่านจับใจความสำคัญ  หมายถึง  การอ่านที่ผู้อ่านต้องเข้าใจเรื่องราวที่อ่านโดยสามารถสรุปความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
- พินิจคุณค่าวรรณกรรม ท ๓.๑ 
ม.๓/๓
ท ๕.๑ 
ม.๓/๒ ,๓/๓
 
เรื่องสั้น “คนบนสะพาน”  ผลงานการเขียนของไพฑูรย์  ธัญญา  ซึ่งเป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (พ.ศ. ๒๕๓๐)
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง น้ำหนักคะแนน
- การแสดงบทบาทสมมติ ท ๕.๑ 
ม.๓/๒ ,๓/๓
 
เรื่องสั้น “คนบนสะพาน”  ผลงานการเขียนของไพฑูรย์  ธัญญา  ซึ่งเป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (พ.ศ. ๒๕๓๐)
- วิเคราะห์วรรณกรรมเรื่องสั้น ท ๒.๑ 
ม.๓/๗
ท ๕.๑ 
ม.๓/๒
เรื่องสั้น “คนบนสะพาน”  ผลงานการเขียนของไพฑูรย์  ธัญญา  ซึ่งเป็นหนังสือที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (พ.ศ. ๒๕๓๐)
- การพูดแสดงทรรศนะ ท ๓.๑ 
ม.๓/๑
ท ๕.๑ 
ม.๓/๓
การพูดแสดงทรรศนะ  ภาษาที่ใช้นั้น  จะต้องใช้ถ้อยคำกะทัดรัด  ใช้คำที่มีความหมายแจ่มชัด 
การเรียงลำดับความไม่สับสนวกวน  และต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องกับระดับการสื่อสาร
รวม ๖๐ ๑๐๐
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 
 
 
 
 


 
 
 
 
นายวิศิษฎ์   เทียมม่วง
๐๙๓ ๔๗๑ ๙๗๗๙

เข้าดู : 789 ครั้ง