ครูธัญญาณี ดีพลงาม
หน่วยการเรียนรู้ที่ | ชื่อหน่วย การเรียนรู้ที่ |
ผลการเรียนรู้ |
จำนวนชั่วโมง | การวัดผลประเมินผล | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ระหว่างเรียน | กลางภาค | ปลายภาค | รวมทั้งหมด | |||||||
K | P | A | รวม | |||||||
1 | ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์ |
1. สืบค้น และอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ที่มีผลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยี | 20 | 5 | 3 | 2 | 10 | 5 | - | 15 |
2. วัด และรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาเคลื่อนในการวัดมาพิจารณาในการนำเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปลความหมายจากกราฟเส้นตรง | 5 | 3 | 2 | 10 | 5 | - | 15 | |||
2 | การเคลื่อนที่แนวตรง | 3. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าแรงโน้มถ่วงของโลก และคำนวณปริมาณต่างที่เกี่ยวข้อง | 30 | 5 | 3 | 2 | 10 | 10 | - | 20 |
3 | แรง และกฎการเคลื่อนที่ | 4. อธิบายแรง รวมทั้งทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงที่ทำมุมต่อกัน | 30 | 4 | 2 | 1 | 7 | - | 5 | 12 |
5. เขียนแผนภาพอิสระ ทดลองและอธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ รวมทั้งคำนวณปริมาณต่างที่เกี่ยวข้อง | 4 | 2 | 1 | 7 | - | 5 | 12 | |||
6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำให้วัตถุมีน้ำหนัก รวมทั้งคำนวณปริมาณต่างที่เกี่ยวข้อง | 4 | 2 | 2 | 8 | - | 5 | 13 | |||
7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรงเสียด ทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่งๆ ใน กรณีที่วัตถุหยุดนิ่งและวัตถุเคลื่อนที่ รวมทั้งทดลองหาค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ระหว่างผิวสัมผัสคู่หนึ่งๆ และนำความรู้ เรื่องแรงเสียดทานไปใช้ในชีวิตประจำวัน |
4 | 2 | 2 | 8 | - | 5 | 13 | |||
รวม | 80 | 31 | 17 | 12 | 60 | 20 | 20 | 100 |
หน่วยการเรียนรู้ | จำนวน ชั่วโมง |
ผลการเรียนรู้ | คะแนนที่ประเมิน | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ความรู้ | ทักษะกระบวนการ | คุณธรรม จริยธรรม | รวม | คะแนนกลางภาค | คะแนนปลายภาค | รวมคะแนนทั้งหมด | |||
1 สมดุลกล |
12 |
1. อธิบายสมดุลกลของวัตถุโมเมนต์และผลรวมของโมเมนต์ที่มีต่อการหมุน แรงคู่ควบและผลของแรงคู่ควบที่มีต่อสมดุลของวัตถุเขียนแผนภาพวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลกล และคำนวณปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง | 2 | 3 | 1 | 6 | 4 | - | 10 |
2. สังเกต และอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุผ่านศูนย์กลางมวลของวัตถุและผลของศูนย์ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพของวัตถุ | 2 | 3 | 1 | 6 | 4 | - | 10 | ||
2 งานและพลังงาน |
24 |
3. วิเคราะห์และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง แรงกับตำแหน่ง รวมทั้งอธิบาย และคำนวณ กำลังเฉลี่ย | 2 | 3 | 1 | 6 | 4 | - | 10 |
4. อธิบาย และคำนวณพลังงานจลน์พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานจลน์ความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริง กับระยะที่สปริงยืดออกและความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้ง อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างงานของแรงลัพธ์ และพลังงานจลน์และคำนวณงานที่เกิดขึ้น จากแรงลัพธ์ | 2 | 3 | 1 | 6 | 4 | - | 10 | ||
5. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทั้ง วิเคราะห์และคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง | 2 | 3 | 1 | 6 | 4 | - | 10 | ||
กับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรักษ์พลังงานกล | |||||||||
6. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพและการได้ เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด โดยใช้ความรู้เรื่องงานและสมดุลกล รวมทั้ง คำนวณประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกล | 2 | 3 | 1 | 6 | - | 4 | 10 | ||
3 โมเมนตัมและการชน |
12 |
7. อธิบายและคำนวณโมเมนตัมของวัตถุ และการดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์กับเวลา รวมทั้ง อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงดลกับโมเมนตัม | 2 | 3 | 1 | 6 | - | 4 | 10 |
8. ทดลอง อธิบาย และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติทั้งแบบ ยืดหยุ่น ไม่ยืดหยุ่น และการดีดตัวแยกจากกันในหนึ่งมิติซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม | 2 | 3 | 1 | 6 | - | 4 | 10 | ||
4 การเคลื่อนที่ แนวโค้ง |
12 |
9. อธิบาย วิเคราะห์และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และทดลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ | 2 | 3 | 1 | 6 | - | 4 | 10 |
10. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง แรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็วเชิงมุม และมวล ของวัตถุในการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบ ระดับ รวมทั้งคำนวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และประยุกต์ใช้ความรู้การเคลื่อนที่แบบวงกลม ในการอธิบายการโคจรของดาวเทียม | 2 | 3 | 1 | 6 | 4 | 10 | |||
รวม | 20 | 30 | 10 | 60 | 20 | 20 | 100 |