• งานเชื่อมโลหะ ม.5 - ครูศตวรรษ สัตถาผล
    โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ เลขที่ 10 ถ. นาเชือก-พยัคฆภูมิพิสัย ต.นาเชือก อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม 44170

โครงสร้างการแบ่งเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู้

 
กำหนดการสอน
รายวิชา งานเชื่อมไฟฟ้า  รหัสวิชา ง 32207 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์/ภาคเรียน     จำนวนหน่วยการเรียน  0.5  หน่วยกิต
สัปดาห์ที่ เนื้อหา เวลา
(คาบ)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1 ปฐมนิเทศ แนะนำรายวิชา สร้างข้อตกลงและแนวทางในการเรียนวิชางานเชื่อมไฟฟ้า
บทที่ 1 กระบวนการเชื่อมโลหะ
  • พื้นฐานงานเชื่อมโลหะ
  • ประวัติงานเชื่อม
1 1. อธิบายวิวัฒนาการงานเชื่อมจากอดีตถึงปัจจุบันได้ (K)
2. เขียนแผนภาพแสดงประวัติงานเชื่อมยุคต่างๆได้ (P)
3. เห็นความสำคัญของการเชื่อมโลหะ (A)
2 บทที่ 1 กระบวนการเชื่อมโลหะ
  • กระบวนการเชื่อมอาร์ก
1 1. สรุปกระบวนการเชื่อมอาร์กได้ (K)
2. เขียนแผนภาพแสดงกระบวนการเชื่อมอาร์กได้ (P)
3. เห็นประโยชน์ของกระบวนการเชื่อมอาร์ก (A)
3 บทที่ 1 กระบวนการเชื่อมโลหะ
  • กระบวนการเชื่อมแก๊ส
  • กระบวนเชื่อมความต้านทาน
1 1. แยกแยะความแตกต่างระหว่างกระบวนการเชื่อมแก๊สและกระบวนการเชื่อมความต้านทานได้ (K)
2. เขียนแผนภาพแสดงกระบวนการเชื่อมแก๊สและกระบวนการเชื่อมความต้านทานได้ (P)
3. แสดงความสนใจในการเรียนกระบวนการเชื่อมโลหะ (A)
4 บทที่ 1 กระบวนการเชื่อมโลหะ
  • กระบวนการบัดกรี
  • การแล่นประสาน
1 1. แยกแยะความแตกต่างระหว่างกระบวนการบัดกรีและการแล่นประสานได้ (K)
2. เขียนแผนภาพแสดงกระบวนการบัดกรีและการแล่นประสานได้ (P)
3. ให้ความร่วมมือในการเรียนกระบวนการการเชื่อมโลหะ (A)
5 บทที่ 2 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
  • อันตรายที่เกิดจากการทำงาน
1  
1. บอกอันตรายที่เกิดจากการทำงานได้ (K)
2. เขียนแผนภาพสาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุจากการทำงานได้ (P)
3. เห็นความสำคัญของอุบัติเหตุที่เกิดจากการทำงาน (A)
 
6 บทที่ 2 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
  • การป้องกันอันตรายจากการทำงาน
  • การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
1 1. อธิบายการป้องกันอันตรายจากการทำงาน และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ (K)
2. แสดงบทบาทสมมติในการป้องกันอันตรายจากการทำงานได้ (P)
3. เห็นความสำคัญในการป้องกันอันตรายจากการทำงาน (A)
7 บทที่ 3 กระบวนการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
- หลักการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
- วงจรพื้นฐานของการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
1 1. อธิบายหลักการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (K)
2. เขียนแผนภาพแสดงหลักการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (P)
3. เห็นความสำคัญของการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (A)
8 บทที่ 4 เครื่องมือวัสดุและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
- โลหะที่เหมาะกับการเชื่อม
 - เครื่องเชื่อม
1 1. อธิบายการเลือกใช้วัสดุและเครื่องมือในการปฏิบัติงานได้ (K)
2. เลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับงานได้ (P)
3. เห็นความสำคัญของเครื่องมือ และวัสดุในการปฏิบัติงาน (A)
9 บทที่ 4 เครื่องมือวัสดุและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
 - เครื่องมือในงานเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
  - การประกอบ และใช้งานเครื่องเชื่อม    อาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
1 1. อธิบายการเลือกใช้เครื่องมือวัสดุและอุปกรณ์ในงานเชื่อมไฟฟ้าต่างๆได้ (K)
2. จำลองการประกอบเครื่องเชื่อมไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง (P)
3. เห็นคุณค่าของเครื่องมือ และวัสดุในการปฏิบัติงาน (A)
10 สอบกลางภาค 1 ข้อสอบ
11 บทที่ 4 เครื่องมือวัสดุและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
  • อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากงานเชื่อม
  • การดูแลรักษาเครื่องมือ และอุปกรณ์ในงานเชื่อม
1 1. อธิบายการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากงานเชื่อมได้ (K)
2. เลือกใช้เครื่องมือวัสดุและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง (P)
3. เห็นความสำคัญของเครื่องมือวัสดุและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน (A)
 
12 บทที่ 5 วิธีการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
  • การเริ่มต้นการอาร์ก
1 1. บอกขั้นตอนการเริ่มต้นการอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ได้อย่างถูกต้อง (K)
2. จำลองขั้นตอนการเริ่มต้นการอาร์กได้ (P)
3. เห็นความสำคัญของการเริ่มต้นการอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (A)
13 ภาคปฏิบัติ
  • การเริ่มต้นการอาร์
1 1. อธิบายขั้นตอนการเริ่มต้นการอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ได้อย่างถูกต้อง (K)
2. ปฏิบัติงานการเริ่มต้นการอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ได้ (P)
3. ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานการเริ่มต้นการอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (A)
14 บทที่ 5 วิธีการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
  • การเดินแนวรอยเชื่อม
  • ท่าเชื่อม
1 1. บอกวิธีการเดินแนวรอยเชื่อมและท่าเชื่อมได้ (K)
2. สาธิตวิธีการเดินแนวรอยเชื่อมและท่าเชื่อมได้อย่างถูกต้อง (K)
3. เห็นประโยชน์ของวิธีการเดินแนวรอยเชื่อมและท่าเชื่อม (A)
15 บทที่ 5 วิธีการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
  • การขยาย หดตัวของชิ้นงาน
  • วิธีลดการบิด โก่งงอของชิ้นงาน
1 1. บอกสาเหตุของการขยาย หดตัว บิด โก่งงอของชิ้นงานได้ (K)
2. สาธิตวิธีการลดการขยาย หดตัว บิด โก่งงอของชิ้นงานได้ (P)
3. เห็นความสำคัญของการขยาย หดตัว บิด โก่งงอของชิ้นงาน (A)
16 ภาคปฏิบัติ
  • การเดินแนวรอยเชื่อม
1 1. อธิบายขั้นตอนการเดินแนวรอยเชื่อมได้ (K)
2. ปฏิบัติงานเดินแนวรอยเชื่อมได้ (P)
3. เอาใจใส่ในการปฏิบัติงาน (A)
17 ภาคปฏิบัติ
  • การเชื่อมต่อชิ้นงาน
1  
 
1. อธิบายขั้นตอนการเชื่อมต่อชิ้นงานได้ (K)
2. ปฏิบัติงานเชื่อมต่อชิ้นงานได้ (P)
3. เอาใจใส่ในการปฏิบัติงาน (A)
 
 
18 ภาคปฏิบัติ
  • การประกอบชิ้นงาน
1 1. บอกขั้นตอนการประกอบชิ้นงานได้ (K)
2. ปฏิบัติงานประกอบชิ้นงานได้ (P)
3. เอาใจใส่ในการปฏิบัติงาน (A)
19 ภาคปฏิบัติ
  • การประกอบชิ้นงาน
1 1. บอกขั้นตอนการประกอบชิ้นงานได้ (K)
2. ปฏิบัติงานประกอบชิ้นงานได้ (P)
3. เอาใจใส่ในการปฏิบัติงาน (A)
20 สอบปลายภาค 1 ข้อสอบ

เข้าดู : 2459 ครั้ง