• ภาษาไทยพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 - ครูพงษ์วิศิษฐ์ ปะนัดถา
    โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ เลขที่ 10 ถ. นาเชือก-พยัคฆภูมิพิสัย ต.นาเชือก อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม 44170

กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ K P A

กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้/หน่วยการเรียนรู้
 
ผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด/จุดประสงค์
ชื่อหน่วย ชั่วโมง  
 
 
จุดประสงค์การเรียนรู้
 
 
 
 
คะแนนที่ประเมิน
ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรม รวม คะแนนกลางภาค คะแนนปลายภาค รวมคะแนนทั้งหมด
K P A ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐๐
๑. ระดับภาษา ๑) บอกลักษณะของภาษาแต่ละระดับได้ถูกต้อง (K)
๒) ระบุระดับของภาษาจากข้อความที่กำหนดให้ได้ถูกต้อง (P)
๓) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ภาษาได้อย่างเหมาะสม (P)
๔) เขียนแผนภาพความคิด เรื่อง ระดับภาษา ได้ถูกต้อง (P)
๕) เห็นความสำคัญของนำความรู้จากเรื่องระดับภาษาไปใช้ในชีวิตประจำวัน (A)
- ๑๔
๒. คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ ๑) บอกลักษณะของคำทับศัพท์ได้ถูกต้อง
๒) บอกลักษณะของศัพท์บัญญัติได้ถูกต้อง
๓) บอกที่มาของคำทับศัพท์ได้ถูกต้อง (K)
๔) บอกวิธีการสร้างศัพท์บัญญัติได้ถูกต้อง
๕) เขียนแผนภาพความคิด เรื่อง คำ
ทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ ได้ถูกต้อง (P)
๖) ใช้คำทับศัพท์ได้ถูกต้อง (P)
๗) เห็นความสำคัญของคำทับศัพท์ในภาษาไทย (A)
๘) เห็นความสำคัญของนำความรู้จากเรื่องคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติไปใช้ในชีวิตประจำวัน (A)
- ๑๓
๓. การใช้ศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ ๑) บอกลักษณะของศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพได้ถูกต้อง (K)
๒) จำแนกหมวดหมู่ของศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพได้ถูกต้อง (P)
๓) ใช้ศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพได้ถูกต้อง (P)
๔) เห็นความสำคัญของศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพในชีวิตประจำวัน (A)
- ๑๓
 
๔. การอ่านทร้อยกรอง ๑) บอกความหมายของบทร้อยกรองได้ถูกต้อง (K)
๒) บอกแนวทางการพิจารณาบทร้อยกรองได้ถูกต้อง (K)
๓) พิจารณาบทร้อยกรองได้ถูกต้อง (P)
๔) เขียนแผนภาพความคิด เรื่อง การอ่านบทร้อยกรอง ได้ถูกต้อง (P)
๕) เห็นความสำคัญของการพิจารณาบทร้อยกรอง (A)
- ๑๓
๕. บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก
 
๑) บอกความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกได้ถูกต้อง (K)
๒) เล่าเนื้อเรื่องของบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกได้ถูกต้อง (K)
๓) บอกลักษณะของบทละครพูดได้ถูกต้อง (K)
๔) สรุปเนื้อเรื่องของบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกได้ถูกต้อง (P)
๕) จับใจความสำคัญจากบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกได้ถูกต้อง (P)
๖) วิเคราะห์คุณค่าของบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกได้ถูกต้อง (P)
๗) เห็นคุณค่าของบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก (A)
- ๑๔
๖. อิศรญาณภาษิต ๑) บอกข้อมูลพื้นฐานของวรรณคดี เรื่อง อิศรญาณภาษิต ได้ถูกต้อง (K)
๒) บอกลักษณะของกลอนเพลงยาวได้ถูกต้อง (K)
๓) สรุปเนื้อหาของวรรณคดี เรื่อง อิศรญาณภาษิต ได้ถูกต้อง (P)
๔) อ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
๕) ท่องจำบทอาขยานจากวรรณคดี เรื่อง อิศรญาณภาษิต ได้ถูกต้อง (P)
๖) วิเคราะห์บทร้อยกรองจากวรรณคดี เรื่อง อิศรญาณภาษิต ได้ถูกต้อง (P)
๗) วิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหาของวรรณคดี เรื่อง อิศรญาณภาษิต ได้ถูกต้อง
๘) เขียนแผนภาพความคิด เรื่อง อิศรญาณภาษิต ได้ถูกต้อง (P)
๙) เห็นคุณค่าของวรรณคดี เรื่อง อิศรญาณภาษิต (A)
- ๑๓
๗. การฟัง และการดูเพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ๑) บอกหลักการฟัง และการดูเพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ได้ถูกต้อง (K)
๒) บอกหลักการฟัง และการดูเพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ได้ถูกต้อง (K)
๓) วิเคราะห์เรื่องที่ฟังและดูได้อย่างเหมาะสม (P)
๔) วิจารณ์เรื่องที่ฟังและดูได้อย่างเหมาะสม (P)
๕) เขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างเหมาะสม (P)
๖) เห็นความสำคัญของการฟัง และการดูเพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ (A)
๗) เห็นความสำคัญของการฟัง และการดูเพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ (A)
- ๑๓
๘. การพูด ๑) บอกหลักการพูดโต้วาทีได้ถูกต้อง (K)
๒) บอกหลักการพูดอภิปรายได้ถูกต้อง
๓) บอกหลักการพูดโน้มน้าวใจได้ถูกต้อง
๔) พูดโต้วาทีได้ถูกต้องตามหลักการ (P)
๕) พูดอภิปรายได้ถูกต้องตามหลักการ
๖) พูดโน้มน้าวใจได้ถูกต้องตามหลักการ
๗) เห็นความสำคัญของการพูดโต้วาที (A)
๘) มีมารยาทในการพูด (A)        
๙) เห็นความสำคัญของการพูดอภิปราย
๑๐) เห็นความสำคัญของการพูดโน้ม
น้าวใจ (A)
๑๑) มีมารยาทในการพูด (A)      
- ๑๓
๙. ประเภทของการเขียน ๑) บอกหลักการเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้งได้ถูกต้อง (K)
๒) บอกหลักการเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ได้ถูกต้อง (K)
๓) เขียนอธิบายได้ถูกต้องตามหลักการ (P)
๔) เขียนวิเคราะห์วิจารณ์ได้ถูกต้องตามหลักการ (P)
๕) เขียนชี้แจงได้ถูกต้องตามหลักการ (P)
๖) เขียนแสดงความคิดเห็นได้ถูกต้องตามหลักการ (P)
๗) เขียนโต้แย้งได้ถูกต้องตามหลักการ (P)
๘) เห็นความสำคัญของการเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้ง (A)
- ๑๔
๑๐. การเขียนรายงานและการกรอกแบบสมัครงาน ๑) บอกหลักการเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้าได้ถูกต้อง (K)
๒) บอกหลักการเขียนรายงานโครงงานได้ถูกต้อง (K)
๓) บอกหลักการกรอกแบบสมัครงานได้ถูกต้อง (K)
๔) เขียนรายงานได้ถูกต้องตามหลักการ (P)
๕) กรอกแบบสมัครงานได้ถูกต้องตามหลักการ (P)
๖) เห็นความสำคัญของการเขียนรายงาน (A)
๗) มีมารยาทในการเขียน (A)
- ๑๔
๑๑. การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่น ๑) บอกลักษณะของวรรณกรรมท้องถิ่นได้ถูกต้อง (K)
๒) วิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นได้ถูกต้อง (P)
๓) เขียนแผนภาพความคิด เรื่อง การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่น ได้ถูกต้อง (P)
๔) เห็นคุณค่าของวรรณกรรมท้องถิ่น (A)
- ๑๓
๑๒. บทพากย์เอราวัณ
 
๑) บอกข้อมูลพื้นฐานของบทพากย์เอราวัณได้ถูกต้อง (K)
๒) บอกความหมายของคำศัพท์และข้อความจากบทพากย์เอราวัณได้ถูกต้อง (K)
๓) บอกลักษณะของกาพย์ฉบัง ๑๖ ได้ถูกต้อง (K)
๔) เขียนผังมโนทัศน์แสดงข้อมูลพื้นฐานของบทพากย์เอราวัณได้ถูกต้อง (P)
๕) ถอดคำประพันธ์จากบทพากย์เอราวัณได้ถูกต้อง (P)
๖) จับใจความสำคัญของบทพากย์เอราวัณได้ถูกต้อง (P)
๗) อ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้ถูกต้อง (P)
๘) ท่องจำบทอาขยานจากบทพากย์เอราวัณได้ถูกต้อง (P)
๙) วิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ของบทพากย์เอราวัณได้ถูกต้อง (P)
๑๐) วิเคราะห์คุณค่าด้านนาฏศิลป์ของบทพากย์เอราวัณได้ถูกต้อง (P)
๑๑) เห็นความสำคัญของบทพากย์เอราวัณ (A)
 
- ๑๓
รวมเวลา ๖๐ รวมคะแนน ๒๔ ๒๔ ๑๒ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐๐
อัตราส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค
                             คะแนนระหว่างภาค                ๘๐ : ๒๐         คะแนน
                             คะแนนระหว่างภาค                ๖๐                คะแนน
                             คะแนนสอบกลางภาค              ๒๐                คะแนน
                             คะแนนสอบปลายภาค              ๒๐                คะแนน
                             รวมคะแนนทั้งสิ้น                  ๑๐๐              คะแนน

เข้าดู : 2219 ครั้ง