• วิชาประวัติศาสตร์ - ครูพักตร์จิรา ปิดตาทะโน
    โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ เลขที่ 10 ถ. นาเชือก-พยัคฆภูมิพิสัย ต.นาเชือก อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม 44170

กำหนดการสอนรายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

คำอธิบายรายวิชา
ส 21103                                                วิชาประวัติศาสตร์                                              ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1                                        0.5  หน่วยกิต                                                       เวลา 1 คาบ / สัปดาห์
 
            ศึกษา  วิเคราะห์ ความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ ลักษณะประเภทของข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เข้าใจเรื่องเวลาและช่วงสมัยทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับความหมาย การแบ่งช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ไทย พุทธศักราช การแบ่งช่วงสมัยตามราชธานีไทย การนับและเทียบศักราชแบบไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และนำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ไทยและประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้พอสังเขป
                ศึกษา  อธิบาย  ถึงพัฒนาการทางสังคม  เศรษฐกิจ  และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  และระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
                เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ สามารถนำผลการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุขและมีสันติสุข
                               
ตัวชี้วัด
ส 4.1  ม.1/1  ม.1/2  ม.1/3 
ส 4.2  ม.1/1  ม.1/2   
รวม    5    ตัวชี้วัด
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
โครงสร้างรายวิชา  วิชาประวัติศาสตร์  (ส 21103)      ภาคเรียนที่  1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1     เวลา  20  ชั่วโมง            จำนวน   0.5    หน่วยกิต
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
1. เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ม.  1/1วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ต้องอาศัยพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับการนับเวลา  ศักราชและการเทียบศักราชการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ความหมายความสำคัญวิธีการและหลักฐานทางประวัติศาสตร์  5 25
2. การนับเวลาและศักราช
 
ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ม.1/2  เทียบศักราชตามระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์
การนับเวลาในระบบสุริยคติและจันทรคติ  การเทียบศักราช  การนับทศวรรษ ศตวรรษและสหัสวรรษ  การนับเวลาและช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์  มีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้เราสามารถศึกษาประวัติสาสตร์ได้
เข้าใจมากยิ่งขึ้น
5 25
3. วิธีการและหลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ม. 1/3 นำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในอดีตนักประวัติศาสตร์จะใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์  ศึกษาหลักฐานและเรื่องราวต่างๆในอดีต
 
 
 
 
 
5 25
 
 
 
 
 
โครงสร้างรายวิชา  วิชาประวัติศาสตร์ (ส 21103)      ภาคเรียนที่  1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1     เวลา  20  ชั่วโมง            จำนวน   0.5    หน่วยกิต
ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน
4. พัฒนาการและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส.  4.2     ข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
1.  อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    2.  ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ  ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ทางด้านสังคมเศรษฐกิจและการเมือง ความร่วมมือผ่านการรวมกลุ่มเป็นอาเชี่ยนของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ที่ตั้งความสำคัญอิทธิพลของอารยธรรมโบราณ
 
5 25
รวมตลอดปี / ภาค 20 100
 
 
การวัดและการประเมินผล                                               ระหว่างภาค (70) :  ปลายภาค (30)
1. คุณลักษณะอันพึงประสงค์                                                                          10           คะแนน
2. ทดสอบย่อย                                                                                                     20           คะแนน
3. ค้นคว้าด้วยตนเอง +  สมุดจดงาน                                                              20           คะแนน
4. สอบกลางภาค                                                                                                 20           คะแนน
5. สอบปลายภาค                                                                                 30           คะแนน
 
 
 
 
กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด/จุดประสงค์
มฐ. ที่ หน่วยการเรียนรู้ ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้  
 /ผลการเรียนรู้
คะแนนที่ประเมิน
ชื่อหน่วย ชั่วโมง ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรม รวม คะแนนกลางภาค คะแนนปลายภาค รวมคะแนนทั้งหมด
K P A        
ส.4.1 
 
เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 5
 
ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ม.  1/1วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์
5 5 5 15 10 - 25
ส.4.1 
 
 
 
 
การนับเวลาและศักราช
 
 
5
 
 
ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ม.1/2  เทียบศักราชตามระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์
5 5 5 15 10 - 25
ส.4.1 
 
วิธีการและหลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
5 ส.4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ม. 1/3 นำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
5 3 2 10 - 15 25
ส.  4.2 พัฒนาการและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5 ส.  4.2     ข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น 5 3 2 10 - 15 25
  รวม 60   20 16 14 50 20 30 100
 
 

เข้าดู : 4349 ครั้ง