• เคมีเพิ่มเติม ม.5 เทอม 1 - ครูนิตยา ทิพศรีราช
    โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ เลขที่ 10 ถ. นาเชือก-พยัคฆภูมิพิสัย ต.นาเชือก อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม 44170

กำหนดการสอน

การจัดหน่วยการเรียนรู้
 
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน
(ร้อยละ)
1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส
-  ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ และจำนวนโมลของแก๊ส
-  แก๊สอุดมคติ และความดันย่อย
-  ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
-  การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
ผลการเรียนรู้ 1-6
 
20
 
30
 
2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
-ความหมายและการคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
-แนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
-ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ผลการเรียนรู้ 7-12
 
20
 
30
 
3 สมดุลเคมี
-สภาวะสมดุล
-ค่าคงที่สมดุล
-ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุล
-สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรม
ผลการเรียนรู้ 13-19
 
20
 
40
 
รวมทั้งสิ้น 60 100
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด/จุดประสงค์
มฐ. ที่ หน่วยการเรียนรู้ ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ คะแนนที่ประเมิน
ชื่อหน่วย ชั่วโมง ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรม รวม คะแนนกลางภาค คะแนนปลายภาค รวมคะแนนทั้งหมด
K P A 50 20 30 100
2.1  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
แก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
 
 
4 1.อธิบายความสัมพันธ์และคำนวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆ ตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์–
ลูสแซก
1 1 1 3 0 0 3
2.1 4 2.คำนวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิ ของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆ ตามกฎรวมแก๊ส 1 1 1 3 0 0 3
2.1 4 3.คำนวณปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ จำนวนโมล หรือมวลของแก๊ส จากความสัมพันธ์ตามกฎของอาโวกาโดร และกฎแก๊สอุดมคติ 1 1 1 3 0 0 3
  3 4.คำนวณความดันย่อยหรือจำนวนโมลของแก๊สในแก๊สผสม โดยใช้กฎความดันย่อยของดอลตัน 2 1 0 3 0 0 3
2.1 3 5.อธิบายการแพร่ของแก๊สโดยใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส คำนวณและเปรียบเทียบอัตรา การแพร่ของแก๊ส โดยใช้กฎการแพร่ผ่านของ เกรแฮม 1 1 0 2 4 0 6
2.1 2 6.สืบค้นข้อมูล นำเสนอตัวอย่าง และอธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติและกฎต่าง ๆ ของแก๊สในการอธิบายปรากฏการณ์ หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในอุตสาหกรรม 1 0 0 1 4 0 5
2.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2 7.ทดลอง และเขียนกราฟการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสารที่ทำการวัดในปฏิกิริยา 1 1 0 2 4 0 6
2.1  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
 
 
4 8.คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และเขียนกราฟการลดลงหรือเพิ่มขึ้นของสารที่ไม่ได้วัดในปฏิกิริยา 1 1 0 2 4 0 6
2.1 4 9.เขียนแผนภาพ และอธิบายทิศทางการชนกันของอนุภาคและพลังงานที่ส่งผลต่ออัตรา การเกิดปฏิกิริยาเคมี 1 1 0 2 4 0 6
2.1 4 10.ทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้น พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น อุณหภูมิ และตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2 1 1 4 0 0 5
  3 11.เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น อุณหภูมิ และตัวเร่งปฏิกิริยา
 
3 1 1 5 0 0 6
2.1 3 12.ยกตัวอย่าง และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันหรืออุตสาหกรรม 3 1 1 5 0 0 6
2.1  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สมดุลเคมี
 
 
2 13.ทดสอบ และอธิบายความหมายของปฏิกิริยาผันกลับได้และภาวะสมดุล 1 1 0 2 0 5 7
2.1 3 14.อธิบายการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ เมื่อเริ่มปฏิกิริยาจนกระทั่งระบบอยู่ในภาวะสมดุล 1 1 0 2 0 3 5
2.1 3 15.คำนวณค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา 1 1 0 2 0 5 7
2.1 3 16.คำนวณความเข้มข้นของสารที่ภาวะสมดุล
 
 
1 1 0 2 0 2 4
2.1 3 17.คำนวณค่าคงที่สมดุลหรือความเข้มข้นของปฏิกิริยาหลายขั้นตอน
 
1 1 0 2 0 5 7
2.1  
 
 
 
 
สมดุลเคมี
3 18.ระบุปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลและค่าคงที่สมดุลของระบบ รวมทั้งคาดคะเน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อภาวะสมดุลของระบบถูกรบกวน โดยใช้หลักของเลอชาเตอลิเอ 1 1 1 3 0 5 8
2.1 3 19.ยกตัวอย่าง และอธิบายสมดุลเคมีของกระบวนการที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต ปรากฏการณ์ในธรรมชาติและกระบวนการในอุตสาหกรรม 1 1 0 2 0 5 7
  รวม 60   25 18 7 50 20 30 100
อัตราส่วนระหว่างภาค / ปลายภาค .................70:30.........................
คะแนนระหว่างภาค ..........................50............................คะแนน
คะแนนสอบกลางภาค........................20.............................คะแนน
คะแนนสอบปลายภาค.......................30.............................คะแนน
รวมคะแนนทั้งหมด..........................100.............................คะแนน

เข้าดู : 2127 ครั้ง